คำสุภาษิต คำพังเพย


                                                       คำสุภาษิต คำพังเพย


                                                                
                                                                       สรุป

                                                



จากการที่คณะผู้จัดทำได้มีความสนใจศึกษาสำนวนสุภาษิตคำพังเพยตามวัตถุประสงค์คือเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนวน สุภาษิต คำพังเพย     โดยแบ่งตามลำดับอักษรพยัญชนะไทยเนื้อจากสำนวนสุภาษิตคำพังเพยจากบทประพันธ์ วรรณคดี  หนังสือต่างๆ ได้แก่  หนังสือสำนวน สุภาษิต  คำพังเพย หนังสือคำคมสุภาษิตสอนหญิงชาย ซึ่งพบว่า สำนวน สุภาษิต คำพังเพย     มีจำนวนมากซึ่งถ่ายทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณที่ใช้สั่งสอนอบรมบุตรหลานให้มีคุณธรรมซึ่งในปัจจุบันก็ยังมีการนำ  สำนวน  สุภาษิต  คำพังเพย   มาใช้ในชีวิตประจำวันซึ่งเราได้ยินอยู่บ้างในปัจจุบันเพื่อให้ประชาชนประพฤติปฏิบัติมีคุณธรรมและสามารถอยู่รวมกันได้ในสังคมอย่างสงบสุข
อภิปรายผล
จากการศึกษาค้นคว้าโครงงานเรื่องการศึกสำนวนสุภาษิตคำพังเพย
สำนวนหมายถึง คำที่พูดคือเป็นคติมีความลึกซึ้งใช้สอน คือการวางแนวและแสดงคำนิยมของสมัยโบราณ เช่นคำว่าน้ำพึ่งเรือเสือ  เสือพึ่งป่า
สุภาษิตหมายถึง เป็นคำเปรียบเทียบเรื่องต่างๆ เพื่อใช้ติชมสะท้อนถึงความคิดความเชื้อถือและค่านิยมอันเป็นลักษณะของคนไทย เช่น คำว่าบ้านเคยอยู่อู่เคยนอน
คำพังเพยหมายถึง ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นโดยมีความหมายพิเศษ ไม่ตรงกับความหมายตามปกติทั้งนี้อาจจะเป็นคำที่มีความหมายโดยนัยหรือความหมายในเชิงเปรียบเทียบเช่นคำว่า  กินบนเรือนขี้รถบนหลังคา

ประโยชน์ที่ได้รับ      
๑.   เกิดความสามัคคีภายในกลุ่ม
๒.   มีความรู้เกี่ยวกับสำนวนสุภาษิตคำพังเพย
๓.    มีความเข้าใจเกี่ยวกับการนำสำนวนสุภาษิตคำพังเพยมาใช้
๔.   ได้ฝึกทักษะในการวาดภาพประกอบสุภาษิตคำพังเพย
ข้อเสนอแนะ                                                    
จากการศึกษาสำนวนสุภาษิตคำพังเพยผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงงานคือ
๑.  เนื่องจากเนื้อหาของสำนวนสุภาษิตคำพังเพยอาจมีจำนวนมากในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาอาจหรือยกเนื้อหาของสำนวนสุภาษิตคำพังเพย
๒.  ควรมีการจัดทำเป็นหนังสืออินเล็กทรอนิเผยแพร่ทางเว็บไซต์ในโอกาสต่อไป
๓.  นำผลจากการศึกษาสำนวนสุภาษิตคำพังเพยไปสร้างเป็นสื่อในรูปแบบต่างๆ   เช่น นิทาน เรื่องสั้น  บทละคร  เป็นต้น เพื่อให้เหมาะสมกับผู้รับสาร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

การอ่านทำนองเสนาะ

ตอนที่7เรื่องการอ่านทำนองเสนาะ